รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์
รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์

รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์

โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และสถานีรับ-ส่งผู้โดยสารอากาศยานกรุงเทพมหานคร หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ (อังกฤษ: Airport Rail Link) หรือชื่อใหม่ว่า รถไฟฟ้าเอราวัน สายซิตี้ไลน์ (อังกฤษ: AERA1 SkyTrain - City Line) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ เดิมอยู่ในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชัน - ฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง ภายหลังรัฐบาลได้นำโครงการนี้มาเป็นโครงการเร่งด่วนและแยกการก่อสร้างต่างหากจากระบบรถไฟฟ้าชานเมือง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และได้เปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์เมื่อ พ.ศ. 2553 โดยบริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจในกระทรวงคมนาคม และเป็นบริษัทลูกของการรถไฟแห่งประเทศไทย ต่อมารัฐบาลได้มีการรวมรถไฟฟ้าสายนี้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน จึงมีการเปลี่ยนผู้ดำเนินการเป็น เอฟเอส อินเตอร์เนชันแนล กรุ๊ป ภายใต้สัญญาว่าจ้างดำเนินงานจาก บริษัท เอเชีย เอราวัน จำกัด โดยเริ่มในปี พ.ศ. 2564

รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์

ขบวนรถ Siemens Desiro UK Class 360/2
เว็บไซต์ เว็บไซต์ทางการ
รูปแบบ รถไฟฟ้าชานเมือง, รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน
ระบบจ่ายไฟ เหนือหัว
แผนที่เส้นทาง
แผนที่เส้นทาง

 สายสีแดงเข้ม  ไป รังสิต/อยุธยา
ท่าอากาศยานดอนเมือง
 สายสีแดงเข้ม 
 สายสีแดงอ่อน  ไป ตลิ่งชัน
บางซื่อ (สถานีกลาง)
ราชวิถี
 สายสีแดงเข้ม  ไป หัวลำโพง
พญาไท
ราชปรารภ
มักกะสัน
 สายสีแดงอ่อน  ศูนย์วิจัย
รามคำแหง
สีเหลือง ศรีกรีฑา – กลันตัน
หัวหมาก
(สุดเขตรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน)
(เขตทางรถไฟสายตะวันออก)
บ้านทับช้าง
ลาดกระบัง
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ศรีราชา
พัทยา
(อุโมงค์เขาชีจรรย์)
ท่าอากาศยานอู่ตะเภา
(ส่วนต่อขยาย ระยอง-ตราด)
แผนภาพนี้:
จำนวนสถานี 8
เจ้าของ การรถไฟแห่งประเทศไทย
ระบบ รถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน
ผู้โดยสารต่อวัน (31 สิงหาคม พ.ศ. 2561)
85,888 คน[1]
สถานะ เปิดให้บริการ
ความเร็ว 160 กม./ชม.
เปิดเมื่อ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553[2]
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ ประเทศไทย
รางกว้าง รางมาตรฐาน
ระยะทาง 28.6 กิโลเมตร (18 ไมล์) (est.)
ศูนย์ซ่อมบำรุง ศูนย์ซ่อมบำรุงซอยศูนย์วิจัย สำนักบริหารโครงการรถไฟฟ้า การรถไฟแห่งประเทศไทย
ปลายทาง สถานีสุวรรณภูมิ
สถานีพญาไท
ผู้ดำเนินงาน บริษัท เอเชีย เอราวัน จำกัด
(สัญญาสัมปทานโครงการ หมด พ.ศ. 2612)

แหล่งที่มา

WikiPedia: รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ http://www.baanjomyut.com/library/law/02/150.html http://www.hsr3airports.com/ http://www.kodmhai.com/m2/m2-3/m3-91-105.html http://www.lawyerthai.com/law/articles.php?article... http://www.ryt9.com/s/prg/494668 http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=110... http://www.thailandlawyercenter.com/index.php?lay=... http://www.thansettakij.com/content/312700 http://www.komchadluek.net/news/breaking-news/2831... http://www.komchadluek.net/news/crime/283148